วันพฤหัสบดีที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2554

Wallpaper

Wallpaper 1 สังคมออนไลน์ มหันตภัย ที่ใกล้ตัว ใช้สี Triads




Wallpaper 2 สื่อสารเป็นเลิศ อัต ลักษณ์ครูยุคใหม่ ใช้สี Dyads



Wallpaper 3 หัวข้อ ศึกษาศาสตร์ก้าวไกล ใช้สี Monochrome



Wallpaper 4 หัวข้อ Educational Technology ใช้สี Tetrads




วันพฤหัสบดีที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2554

Templete Powerpoint

ออกแบบTemplete PowerPoint ภายใต้แนวคิด “นี่คือ ศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา บางแสน”


Analogus Templete version Thai


ส่วนที่ 1 ชื่อเรื่อง




ส่วนที่ 2 เนื้อหา




ส่วนที่ 3 จบการนำเสนอ ขอบคุณ




Analogus Templete Version English

ส่วนที่ 1 ชื่อเรื่อง



ส่วนที่ 2 เนื้อหา



ส่วนที่ 3 จบการนำเสนอ ขอบคุณ




Dyads Templete version Thai

ส่วนที่ 1 ชื่อเรื่อง



ส่วนที่ 2 เนื้อหา




ส่วนที่ 3 จบการนำเสนอ ขอบคุณ




Dyads Templete Version English

ส่วนที่ 1 ชื่อเรื่อง




ส่วนที่ 2 เนื้อหา




ส่วนที่ 3 จบการนำเสนอ ขอบคุณ


Monochrome Templete version Thai

ส่วนที่ 1 ชื่อเรื่อง




ส่วนที่ 2 เนื้อหา




ส่วนที่ 3 จบการนำเสนอ ขอบคุณ




Monochrome Templete Version English

ส่วนที่ 1 ชื่อเรื่อง



ส่วนที่ 2 เนื้อหา




ส่วนที่ 3 จบการนำเสนอ ขอบคุณ




Tetrads Templete version Thai

ส่วนที่ 1 ชื่อเรื่อง



ส่วนที่ 2 เนื้อหา




ส่วนที่ 3 จบการนำเสนอ ขอบคุณ




Tetrads Templete Version English

ส่วนที่ 1 ชื่อเรื่อง



ส่วนที่ 2 เนื้อหา




ส่วนที่ 3 จบการนำเสนอ ขอบคุณ




Triads Templete version Thai

ส่วนที่ 1 ชื่อเรื่อง





ส่วนที่ 2 เนื้อหา




ส่วนที่ 3 จบการนำเสนอ ขอบคุณ




Triads Templete Version English

ส่วนที่ 1 ชื่อเรื่อง





ส่วนที่ 2 เนื้อหา




ส่วนที่ 3 จบการนำเสนอ ขอบคุณ



วันพุธที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2554

ออกแบบโปสเตอร์ โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop

1.รณรงค์การใช้ 13 ฟอนต์แห่งชาติ ใช้โครงสี Triads



2.รณรงค์ให้สวมหมวกนิรภัย ใช้โครงสี Tetrads



3.รณรงค์ให้งดสูบบุหรี่ในสถานศึกษา และห้ามสูบบุหรี่ในขณะใส่ชุดนิสิต ใช้โครงสี Monochrome



4.รณรงค์มารยาทไทย การไหว้ ทักทายสวัสดี ใช้โครงสี Analogus


5.หัวข้ออิสระ (รักษาป่าไม้) ใช้โครงสี Dyads


วันเสาร์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2554

ตัวอักษรทองคำ และ เทคนิคการ Retouch ด้วย Photoshop CS3 เพื่อใช้ในงานโปสเตอร์

เทคนิคการทำตัวอักษรทองคำ


ขั้นตอนการทำ
1. คลิกสร้างเอกสารใหม่ขนาดประมาณ 500 x 200 pixels (สามารถปรับขนาดได้ตามต้องการ)
2. หลังจากนั้นให้เลือกสี Foreground = #393939 จากนั้นคลิกที่เครื่องมือ (Paint Bucket Tool)
เทสีลงไป
3. เมื่อทำการเทสีพื้นหลังเรียบร้อยแล้ว ให้เลือกใช้เครื่องมือ (Horizontal Type Tool) และพิมพ์ข้อความที่ต้องการ โดยเลือก Font = Impact ,ขนาด = 60 pt (Font และขนาดของตัวอักษรนั้นสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามต้องการ)
4. เมื่อได้ข้อความที่ต้องการแล้ว ให้ทำการปรับค่าดังนี้
4.1 เลือก Layer ที่พิมพ์ข้อความ และคลิกที่ (add a layer style) เลือก Gradient Overlay...
และปรับสี Gradient ให้เหมือนรูปด้านล่าง พร้อมกับปรับค่าที่ช่อง Gradient Type = Solid จากนั้นคลิกเลือกที่ช่อง Reverse , Style = Reflected , Scale = 85%

จากนั้นมาปรับค่า Inner Glow ดังนี้
Blend Mode = Linear Dodge
Opacity = 55%
Size = 3 px
Range = 70%
จากนั้นปรับสีเป็น = #F9E38E
และปรับค่า Inner Shadow ดังนี้
Blend Mode = Color Dodge
Opacity = 50%
Distance = 1 px
Size = 0 px

จากนั้นให้ปรับสีเป็น = #A78F30

สุดท้ายให้มาปรับค่าที่ Drop Shadow ดังนี้
Opacity = 85%
Distance = 2 px
Size =15 px

5. เมื่อปรับค่าต่าง ๆ ครบแล้ว จะได้ข้อความสีทองเก๋ ๆ เอาไว้ตกแต่งเว็บไซต์ของท่านสมาชิกแล้ว ขั้นตอนที่จะแนะนำต่อไปคือการนำข้อความมาตกแต่งเพื่อ ให้ดูสายงามมากขึ้น
5.1 สร้าง Layer ขึ้นมาใหม่ 1 Layer โดยคลิกที่ (Create A New Layer) และปรับค่าสี Foreground = #FFFFFF (สีขาว)
ต่อมาให้เลือก (Brush Tool) และให้นำ Brush ที่ให้ดาวน์โหลดไปในตอนแรกมาใช้ โดยคลิกที่ เลือก Assorted Brushes มาใช้งาน จากนั้นเลือกหัวแปรง แบบ Crosshatch 4 ขนาด 48 px เพื่อแต้มลงจุดที่ต้องการ (ดังรูปตัวอย่าง) เพียงเท่านี้ก็
เปลี่ยนจากข้อความธรรมดา เป็นข้อความที่มีลูกเล่นน่าสนใจแล้วค่ะ อย่าลืมนำวิธีนี้ไปใช้งาน




วิธีการใช้โปรแกรม Photoshop CS3 โปรแกรมตกแต่งภาพ ด้วยการ Retouch เพื่อการตกแต่งภาพด้วยการตัดต่อภาพให้ดูน่าสนใจมากขึ้นด้วยภาพ Background กับภาพนางแบบ ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ในการออกแบบงานกราฟิกประเภทโปสเตอร์ หรือโบว์ชัวร์ได้

ขั้นตอนที่ 1 เปิดภาพพื้นหลังที่ต้องการด้วยโปรแกรม Photoshop CS3
ขั้นตอนที่ 2 เปิดภาพต่างๆที่ต้องการ เช่น ภาพบุคคล สิ่งของ ที่สามารถนำมาใช้ให้สอดคล้องกับภาพพื้นหลัง
ขั้นตอนที่ 3 ทำการ SELECT ส่วนของภาพพื้นหลังที่ต้องการ
ขั้นตอนที่ 4 ทำการ move ภาพพื้นหลังมาวางบนภาพที่ต้องการ
ขั้นตอนที่ 5 เลือก add vector mask ด้านล่างขวาบน menu layer
ขั้นตอนที่ 6 จะปรากฏสัญลักษณ์บนlayer ของนางแบบแล้วใช้ Eraser tool หรือยางลบ ลบส่วนต่างๆของภาพพื้นหลังที่ไม่ต้องการเพื่อให้มองทะลุเห็นภาพ Background ที่เป็นภาพซึ่งสามารถเพิ่มลดขนาดของBrush ได้ด้วยการกด "บ"และ"ล"


วันพุธที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2554

การออกแบบกราฟิกลงบนโปสเตอร์

รูปภาพโปสเตอร์รูปนี้เป็นการใช้สี Monochrome

หรือโครงสีเอกรงค์ คือมีเนื้อสี Hue เดียว แต่ให้ความแตกต่างด้วยน้ำหนักสีValue สีเอกรงค์นี้ ให้อารมณ์ ความรู้สึก สุขุม เรียบร้อยเป็นสากล ไม่ฉูดฉาดสะดุดตา และในด้านการออกแบบเป็นการใช้คู่สีที่ง่ายที่สุด แล้วออกมาดูดี (เลือกแค่สีเดียวแล้วนำมาผสมขาว ผสมดำ หรือปรับค่าความสว่าง Brightmess เพื่อเปลี่ยนน้ำหนักสี Analogus




ใช้สีที่เป็นสีเดียวกันมีการไล่สีเข้ม อ่อน เหมาะสมกับภาพที่ถ่ายทอดออกมาให้รู้สึกลึกลับ ใช้สีโทนที่มีความบ่งบอกถึงอารมณ์ ความแคล้น การต่อสู้ การใช้เวทมนต์ ความน่ากลัว และการเอาชนะต่อศัตรู ซึ่งการถ่ายทอดด้วยสีโทนนี้ตรงกับเนื้อหาของหนังที่ต้องการให้ผู้ชมได้รู้สึก และสัมผัสตามไปได้

การวางโครงสีของงานกราฟิก

การวางโครงสี Colour Schematic

การใช้สีคือ การนำเอาสีไปใช้ในงานออกแบบ หลายคนไม่รู้จะใช้สีอย่างไรดี เลือกเอาสีที่ตัวเองชอบปะเข้าไปในงาน ผลก็คือ ทำให้งานดี ๆ ของเขาออกมาเสียหมดดังนั้นจึงมีทฤษฎีของการใช้สี หรือการเลือกสีมาใช้ร่วมกันในภาพ เพื่อให้ภาพออกมาดูดี ดูน่าพึงพอใจเรียกว่า Colour Schematic หรือการวางโครงสี (ซึ่งบางคนก็คุ้นกับคำว่า การจับคู่สี การเลือกคู่สี)

Monochrome

Monochrome หรือโครงสีเอกรงค์ คือมีเนื้อสี Hue เดียว แต่ให้ความแตกต่างด้วยน้ำหนักสีValue สีเอกรงค์นี้ ให้อารมณ์ ความรู้สึก สุขุม เรียบร้อยเป็นสากล ไม่ฉูดฉาดสะดุดตา และในด้านการออกแบบเป็นการใช้คู่สีที่ง่ายที่สุด แล้วออกมาดูดี (เลือกแค่สีเดียวแล้วนำมาผสมขาว ผสมดำ หรือปรับค่าความสว่าง Brightmess เพื่อเปลี่ยนน้ำหนักสี Analogus







Analogus

Analogus หรือโครงสีข้างเคียง คือสีที่อยู่ติดกัน อยู่ข้างเคียงกัน ในวงจรสี จะเป็นที่ละ 2 หรือ 3 หรือ 4 สีก็ได้
แต่ไม่ควรมากกว่านี้เพราสีอาจจะหลุดจากความข้างเคียง หรือ หลุดออกจากโครงสีนี้ได้







Dyads

Dyads หรือโครงสีคู่ตรงข้าม Complementary Colour คือสีที่อยู่ตรงกันข้ามกันในวงจรสี การเลือกใช้สีคู่ตรงข้ามจะทำให้งานที่ได้มีความสะดุดตาในการมองแต่ก็ต้องระวังการใช้สีคู่ตรงข้าม เพราะการเลือกใช้สึคู่ตรงข้ามด้วยกันนั้นถ้าเราหยิบสี 2 สีที่ตรงข้ามกันมาใช้ในพื้นที่พอ ๆ กัน งานนั้นจะดูไม่มีเอกภาพ ซึ่งเป็นหลักสำคัญในการทำงานศิลปะทางที่ดีเราควรแบ่งพื้นที่ของสีในภาพของการใช้สีใดสีหนึ่งมากกว่าอีกสีหนึ่งโดยประมาณมักจะใช้สีหนึ่ง70 % อีกสีหนึ่ง 30 % ภาพที่ได้ก็จะคงความมีเอกภาพอยู่ และยังมีความเด่นสะดุดตาไปได้ในตัว







Triads

Triads หรือโครงสี 3 สี คือ
1. เป็นการใช้สี 3 สี ในช่วงห่างระหว่างสีทั้ง 3 เท่ากัน ถ้าเราลากเส้นระหว่างสีทั้ง 3 สี เราจะได้สามเหลี่ยมด้านเท่า
2. เป็นการใช้สี 3 สี ในช่วงห่างระหว่างสีทั้ง 3 ไม่เท่ากันคือมีช่วงห่าง 2 ช่วงเท่ากัน แต่กับอีกอันหนึ่งช่วงห่างจะยาวกว่า ถ้าลากเส้นระหว่างสีแล้วจะได้สามเหลี่ยมหน้าจั่ว





Tetrads

Tetrads หรือโครงสี 4 สี คือ
1. การใช้สีในวงจรสี 4 สี โดยเลือกสีที่มีช่วงห่างระหว่างสีเท่ากันหมดกล่าวคือ ถ้าเราลากเส้นเชื่อมสีทั้ง 4 สีแล้ว เราจะได้สี่เหลี่ยมจัตุรัส
2. การใช้สีในวงจรสี 4 สี โดยเลือกสีที่มีช่วงห่างระหว่างสีไม่เท่ากันโดยช่วงห่างของ 2 สีเป็นช่วงสั้นและอีก 2 สีเป็นช่วงยาว กล่าวคือถ้าเราลากเส้นเชื่อมสีทั้ง 4 สีแล้ว เราจะได้สี่เหลี่ยมผืนผ้า